วันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

สายพันธุ์ปลาแฟนชีคาร์ฟ

              จากการสังเกตจากลักษณะทางกายภาพเป็นเกณฑ์ โดยยึดลักษณะของเกล็ดเป็นเกณฑ์จะเห็นว่าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะปลาคาร์พชนิดมีเกล็ดเต็มตัว (Fully-scaled Nishikigoi)ปลาคาร์พชนิดไม่มีเกล็ด (Doitsu-goi)ซึ่งปลาทั้ง 2 ลักษณะนี้ สามารถพบได้ในทุกสายพันธุ์ของปลา โดยชนิดไม่มีเกล็ดนี้การเรียกส่วนใหญ่ จะต้องเติมคำว่า “Doitsu” ไว้ด้านหน้าหรือตามท้ายชื่อสายพันธุ์หลัก คล้ายกับ Prefix และ Subfix ของภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจถึงลักษณะของปลาที่กล่าวถึงสายพันธุ์หลักของปลาแฟนซีคาร์พ หากจำแนกตามประเภทของปลาที่ส่งเข้าประกวดตามมาตรฐาน ZNA แล้ว

สายพันธุ์ โคฮากุ (Kohaku)


สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์ไทโชซันโชกุ (Taisho Sanshoku / Taisho Sanke)



















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์โชวา ซันโชกุ /ซันเก้ (Showa Sanshoku / Showa Sanke)



















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์เบคโกะ (Bekko)
















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์อุจึริโมโนะ (Utsurimono)


















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์อาซากิ (Asagi)


















สายพันุ์ปลาคาร์พ พันธุ์ซูซุย (Shusui)


















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์โกโระโมะ (Koromo)

















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์โงชิกิ (Goshiki)


















สายพันธุ์ปลาคาร์พ สายพันธุ์ฮิการิ มูจิโมโนะ (Hikari muji mono)


















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์ฮิการิโมโยโมโนะ (Hikari moyomono)

















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์ฮิการิ อุจึริโมโนะ (Hikari Utsurimono)


















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์ตันโจ (Tancho)


















สายพันธุ์ปลาคาร์พ พันธุ์คาวาริโมโนะ (Kawarimono)


















ที่มา: https://koithai.wordpress.com


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น